Skip to content

เจาะแนวคิด Learn to Earn ในงานด้านศิลปะ ผ่านมุมมองของรุ่นพี่ยุวศิลปินไทย ผู้ประสบความสำเร็จบนเส้นทางที่เลือกแล้ว

มูลนิธิเอสซีจี สนับสนุนให้เด็กและเยาวชนรู้จักและเข้าใจถึงแนวคิด Learn to Earn เรียนรู้เพื่ออยู่รอด ด้วยการนำทักษะที่มีทั้ง Hard Skill และ Soft Skill มาใช้ในแต่ละโอกาส เพื่อให้อยู่รอดได้ในโลกยุคปัจจุบันที่มีการเปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว ซึ่งที่ผ่านมามูลนิธิฯ ได้ให้การสนับสนุนและต่อยอดความรู้ความสามารถของเด็กและเยาวชนไทย เพื่อส่งเสริมให้เกิดการเรียนรู้และพัฒนาทักษะในทุกด้าน โดยเฉพาะการเรียนรู้และการพัฒนาที่จะต้องทำตลอดชีวิต เพื่อที่จะสามารถรับมือกับการเปลี่ยนแปลงที่มีอยู่ตลอดเวลา

มูลนิธิเอสซีจี ชวนร่วมฉลอง 20 ปี Young Thai Artist Award พบตัวจริงเสียงจริงแห่งวงการศิลปะ พร้อมร่วมยินดีกับยุวศิลปินหน้าใหม่แห่งปี

มูลนิธิเอสซีจี เชิญชวนผู้สนใจในงานศิลปะ ร่วมงาน Young Thai Artist Award 2024 ในวันเสาร์ที่ 9 พฤศจิกายน 2567 ตั้งแต่เวลา 13.00-17.00 น. ณ หอศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานคร โดยมีหลากหลายกิจกรรมดังนี้

เรียน…รู้…รอด​ Learn to Earn เรียนรู้เพื่ออยู่รอด โดย มูลนิธิเอสซีจี

เรียน…รู้…รอด 📌เรียนอย่างไร 📌รู้อะไร 📌รอดแบบไหน พบกับเรื่องราวของ 3 คนรุ่นใหม่ กับเส้นทางการเติบโต โดยการค้นหาเส้นทางชีวิตที่เหมาะกับตัวเอง ล้มแล้วก็ลุกได้ พร้อมเรียนรู้และไปต่อ

เปิดประสบการณ์เยาวชนไทย จากสนามแข่งระดับโลก ใช้ทักษะรอบตัวทั้ง Hard Skill และ Soft Skill

จากความมุ่งมั่นที่จะสนับสนุนเยาวชนไทยในการพัฒนาทักษะและประสบการณ์ในสายอาชีพ เพื่อให้ตอบโจทย์การใช้ชีวิตในโลกยุคที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วตลอดเวลา นอกจากที่มูลนิธิเอสซีจีให้การสนับสนุนเรื่องทุนการศึกษาแล้ว ยังสนับสนุนการแข่งขันฝีมือแรงงานมาอย่างต่อเนื่อง

ต้นกล้าชุมชน “พรกนก ลาภเกิด” ผู้สืบสานภูมิปัญญางานจักสานผิวไม้ไผ่ -ไร้มอด พัฒนา-ต่อยอด สร้างรายได้ให้ชุมชนอย่างยั่งยืน  

เครื่องจักสานจากไม้ไผ่ในอดีต ได้นำมาใช้เป็นอุปกรณ์เครื่องใช้ในกิจวัตรประจำวันในหลายๆ พื้นที่ของประเทศไทย แม้ว่าในปัจจุบันงานเครื่องจักสานจะมีการพัฒนารูปแบบให้มีความสวยงาม คงทน เพื่อนำมาใช้เป็นของสะสม ของประดับมากขึ้น แต่การผลิตเพื่อใช้งานในพื้นที่ชนบทก็ยังคงมีอยู่ และงานจักสานส่วนใหญ่ เมื่อใช้ไประยะหนึ่งมักจะพบปัญหา “มอด” กัดกินผิวไม้ที่นำมาใช้จักสาน ทำให้อุปกรณ์เครื่องใช้ชิ้นนั้นชำรุด

“มูลนิธิเอสซีจี” ตอกย้ำความสำคัญของการพัฒนาทักษะและการเรียนรู้ เดินหน้าสนับสนุนการแข่งขันฝีมือแรงงานนานาชาติ

มูลนิธิเอสซีจีเดินหน้าสนับสนุนเยาวชนไทยในการพัฒนาทักษะและประสบการณ์ในสายอาชีพ เพื่อให้ตอบโจทย์การใช้ชีวิตในโลกยุคที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วตลอดเวลา ทั้งยังเป็นการส่งเสริมการสร้างโอกาสและลดความเหลื่อมล้ำในสังคม จับมือกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน ร่วมสนับสนุนการแข่งขันฝีมือแรงงานระดับนานาชาติที่ประเทศฝรั่งเศส ยุทธนา เจียมตระการ กรรมการบริหารมูลนิธิเอสซีจี กล่าวว่า “จากภารกิจหลักของมูลนิธิเอสซีจี ทีมุ่งลดความเหลื่อมล้ำในสังคม ด้วยการสนับสนุนทุนการศึกษา เน้นการเรียนรู้เพื่อมีงานทำตอบโจทย์ควารมต้องการของประเทศ  พร้อมสร้างโอกาสและมุ่งแสวงหาเวทีให้เด็กและเยาวชนไทยได้มีพื้นที่ในการแสดงศักยภาพ ไม่ว่าจะเป็นทักษะ Hard Skill (ทักษะวิชาชีพ) หรือ Soft Skill (ทักษะชีวิต) ด้วยการส่งเสริมให้เกิดการสั่งสมความรู้ ทักษะ และประสบการณ์ เพื่อต่อยอดสู่ความเป็นเลิศในสายวิชาชีพ ด้วยการสนับสนุน‘การแข่งขันฝีมือแรงงาน’ทั้งระดับอาเซียนและระดับนานาชาติ (World Skills Competition) แก่กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน กระทรวงแรงงาน มาตั้งแต่ปี 2560 อย่างต่อเนื่อง จนถึงปัจจุบันทางมูลนิธิฯ ได้ให้การสนับสนุนไปแล้วกว่า 15,000,000 บาท” สำหรับปี 2567 นี้ มูลนิธิเอสซีจี ได้ให้การสนับสนุนการแข่งขันฝีมือแรงงานนานาชาติ (WorldSkills Lyon 2024) ครั้งที่ 47 ใน 3 สาขา ได้เก่ ซึ่งจะมีขึ้นระหว่างวันที่ 10-15

LEARN to EARN ชีวิต “รอด” ได้ต้องเรียนรู้ที่จะปรับตัว “เพ็ญนภา สิงห์สนั่น” นักแต่งภาพร้านค้าออนไลน์ผู้พัฒนาทุกทักษะเพื่อพร้อมปรับตัวให้ทันกับทุกการเปลี่ยนแปลง

จากนักศึกษาที่ใช้ชีวิตอยู่แต่กับเรื่องการเรียน เมื่อวันหนึ่งสถานะทางการเงินของครอบครัวเกิดมีปัญหา ทำให้ต้องหาเงินส่งตัวเองเรียนต่อเพื่อไม่เป็นภาระของครอบครัว ด้วยการเข้าสู่วงการอาชีพแม่ค้าออนไลน์

รองเท้าบูต

เรื่องราวของน้องสุรพรชัย ธรรมศิริ นักศึกษาปีที่ 4 คณะ แพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล สาขากายอุปกรณ์ มหาวิทยาลัยมหิดล ผู้ชนะเลิศรางวัล Best Survivor Awards 2023

“มูลนิธิเอสซีจี” เร่งเดินหน้าขยายแนวคิด “Learn to Earn เรียนรู้ เพื่ออยู่รอด” ต่อเนื่องเป็นปีที่ 3 สร้าง Mindset การเรียนรู้ตลอดชีวิต เน้นคนทุกเจน-ทุกวัย

ร้อมเดินหน้าเตรียมจัดเสวนาใหญ่ หวังดันแนวคิดสู่คนทุกเจน-ทุกวัย ให้ทุกคนได้เข้าใจและให้ความสำคัญกับ “การเรียนรู้ตลอดชีวิต”

LEARN to EARN เพราะชีวิต คือการเรียนรู้ ไม่มีที่สิ้นสุด “สุรพรชัย ธรรมศิริ” ว่าที่นักกายอุปกรณ์ ที่ไม่หยุดพัฒนาตนเอง เพื่อช่วยเหลือผู้พิการ

เมื่อการเรียนรู้ไม่ได้ถูกจำกัดให้อยู่เพียงแค่ในห้องสี่เหลี่ยมเล็กๆ ที่เรียกว่าห้องเรียนอีกต่อไป แต่เป็นการเรียนรู้ที่ไม่รู้จบ ที่สามารถเกิดขึ้นได้ทุกที่ ทุกเวลา หรือที่เรียกว่า Lifelong learning ที่จะทำให้ผู้เรียนรู้ นำประสบการณ์นั้นมาพัฒนาตัวเองได้มากขึ้น