ตั้งแต่จำความได้พ่อแม่และพี่ชายต้องออกไปทำงานก่อสร้างในต่างจังหว้ด ทิ้งเจนให้อยู่กับป้าและลุงมาตั้งแต่เด็ก จนเจนเรียนอยู่ชั้นมัยมศึกษาปีที่ 2 พ่อเเม่และพี่จึงได้กลับมาอยู่บ้านและเริ่มประกอบอาชีพรับจ้างทั่วไป ครอบครัวของเจนเป็นครอบครัวเล็กๆ หาเช้ากินค่ำไปวันๆ แต่รายได้ไม่เพียงพอต่อค่าใช้จ่าย จนต้องไปกู้หนี้ยืมสิน
ตั้งแต่เด็กๆ กิ๊กอาศัยอยู่กับแม่ พี่สาว แล้วก็น้อง ที่หนองหญ้าไซ จ.สุพรรณบุรี แม่มีอาชีพรับจ้างตัดอ้อย และทำพวงมะโหดสำหรับงานบุญ โดยมีย่ากับปู่คอยส่งเงินมาช่วยเหลือให้ใช้กิน ใช้เรียนหนังสือ ในช่วงวันหยุดกิ๊กจะไปช่วยรับจ้างตัดอ้อยด้วย จนจบ
ป.6 ก็ย้ายมาเรียนที่บางปลาม้ามาอยู่กับปู่และย่า
หมูหวานอาศัยอยู่ในครอบครัวเล็กๆ ในจังหวัด สุพรรณบุรี อยู่ด้วยกันทั้งหมด 3 คน มี แม่ พี่สาว และหมูหวาน ส่วนพ่อได้แยกทางกับแม่ไปตั้งแต่หมูหวานยังเล็กๆ ภาระเลี้ยงดูลูกๆ จึงตกอยู่กับแม่
มูลนิธิเอสซีจีเดินหน้าสนับสนุนเยาวชนไทยในการพัฒนาทักษะและประสบการณ์ในสายอาชีพ เพื่อให้ตอบโจทย์การใช้ชีวิตในโลกยุคที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วตลอดเวลา ทั้งยังเป็นการส่งเสริมการสร้างโอกาสและลดความเหลื่อมล้ำในสังคม จับมือกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน ร่วมสนับสนุนการแข่งขันฝีมือแรงงานระดับนานาชาติที่ประเทศฝรั่งเศส ยุทธนา เจียมตระการ กรรมการบริหารมูลนิธิเอสซีจี กล่าวว่า “จากภารกิจหลักของมูลนิธิเอสซีจี ทีมุ่งลดความเหลื่อมล้ำในสังคม ด้วยการสนับสนุนทุนการศึกษา เน้นการเรียนรู้เพื่อมีงานทำตอบโจทย์ควารมต้องการของประเทศ พร้อมสร้างโอกาสและมุ่งแสวงหาเวทีให้เด็กและเยาวชนไทยได้มีพื้นที่ในการแสดงศักยภาพ ไม่ว่าจะเป็นทักษะ Hard Skill (ทักษะวิชาชีพ) หรือ Soft Skill (ทักษะชีวิต) ด้วยการส่งเสริมให้เกิดการสั่งสมความรู้ ทักษะ และประสบการณ์ เพื่อต่อยอดสู่ความเป็นเลิศในสายวิชาชีพ ด้วยการสนับสนุน‘การแข่งขันฝีมือแรงงาน’ทั้งระดับอาเซียนและระดับนานาชาติ (World Skills Competition) แก่กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน กระทรวงแรงงาน มาตั้งแต่ปี 2560 อย่างต่อเนื่อง จนถึงปัจจุบันทางมูลนิธิฯ ได้ให้การสนับสนุนไปแล้วกว่า 15,000,000 บาท” สำหรับปี 2567 นี้ มูลนิธิเอสซีจี ได้ให้การสนับสนุนการแข่งขันฝีมือแรงงานนานาชาติ (WorldSkills Lyon 2024) ครั้งที่ 47 ใน 3 สาขา ได้เก่ ซึ่งจะมีขึ้นระหว่างวันที่ 10-15
จากนักศึกษาที่ใช้ชีวิตอยู่แต่กับเรื่องการเรียน เมื่อวันหนึ่งสถานะทางการเงินของครอบครัวเกิดมีปัญหา ทำให้ต้องหาเงินส่งตัวเองเรียนต่อเพื่อไม่เป็นภาระของครอบครัว ด้วยการเข้าสู่วงการอาชีพแม่ค้าออนไลน์
มูลนิธิเอสซีจี หรือ SCGF สร้างแรงขับเคลื่อนสังคมแห่งการเรียนรู้เพื่ออยู่รอดอย่างต่อเนื่อง กับงานทอล์ก “Learn to Earn Talk ปลุกพลัง สร้าง Mindset เรียนรู้ เพื่ออยู่รอด”
มูลนิธิเอสซีจี จัดกิจกรรมงานปฐมนิเทศ และแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ให้กับต้นกล้าชุมชน 6-7 โดย มูลนิธิเอสซีจี
เมื่อการเรียนรู้ไม่ได้ถูกจำกัดให้อยู่เพียงแค่ในห้องสี่เหลี่ยมเล็กๆ ที่เรียกว่าห้องเรียนอีกต่อไป แต่เป็นการเรียนรู้ที่ไม่รู้จบ ที่สามารถเกิดขึ้นได้ทุกที่ ทุกเวลา หรือที่เรียกว่า Lifelong learning ที่จะทำให้ผู้เรียนรู้ นำประสบการณ์นั้นมาพัฒนาตัวเองได้มากขึ้น
มูลนิธิเอสซีจีมุ่งลดความเหลื่อมล้ำด้วยการสนับสนุนทุนการศึกษาแก่เด็กและเยาวชนมานานกว่า 60 ปี จนถึงปัจจุบัน ได้ให้ทุนการศึกษาไปแล้วกว่า 100,000 โดยเน้นหลักสูตรการเรียนที่ตอบโจทย์ความต้องการของตลาดแรงงาน ได้แก่ หลักสูตรด้านการแพทย์และสาธารณสุข เช่น ผู้ช่วยพยาบาล ผู้ช่วยทันตแพทย์ หลักสูตรด้านอุตสาหกรรม S-curve และ New S-curve หลักสูตรด้านเทคโนโลยี IT เป็นต้น พร้อมขยายแนวคิด Learn to Earn เรียนรู้เพื่ออยู่รอดอย่างต่อเนื่อง โดยล่าสุดมูลนิธิเอสซีจี ได้จัดงาน Learn to Earn : The Forum จุดประกาย และเปิดมุมมองใหม่ ให้เยาวชน ได้เรียนรู้ ปรับตัว เพิ่มทักษะความรู้ และทักษะชีวิต (Soft skill & Hard skill) ให้สามารถอยู่รอดได้ในโลกยุคปัจจุบันที่เปลี่ยนแปลงตลอดเวลา โดยได้ผนึกกำลังความร่วมมือจากทุกภาคส่วน ทั้งภาครัฐ และภาคเอกชน ได้รับเกียรติจาก 4 Key Drivers ของประเทศ มาร่วมแลกเปลี่ยนแนวคิดและมุมมองผ่านการเสวนาหัวข้อ
การมีใบปริญญาติดฝาบ้าน ไม่ใช่คำตอบของความสำเร็จในชีวิตอีกต่อไปแล้ว เพราะชีวิตที่ประสบความสำเร็จของแต่ละคน ไม่มีสูตรตายตัว ขึ้นอยู่กับ การเรียนรู้ ความมุ่งมั่นพยายาม ปรับตัวการไขว่คว้าโอกาสที่เข้ามา กระทั่งจังหวะเวลา ของแต่ละคน ดังเช่นแนวคิด Learn to Earn ที่มูลนิธิเอสซีจี กำลังขับเคลื่อน โดยสนับสนุนการเรียนรู้ทั้ง Hard Skill ทักษะเพื่อการประกอบวิชาชีพ ผสานกับ Soft Skill หรือทักษะการใช้ชีวิต ซึ่งจะทำให้สามารถรับมือและอยู่รอดได้ในโลกปัจจุบันที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว เอิร์ธ ธรรมรัฐ มูลสาร วัย 22 ปี จากโครงการต้นกล้าชุมชน โดยมูลนิธิเอสซีจี ก็เป็นหนึ่งในตัวอย่างแนวคิดของการเรียนรู้เพื่ออยู่รอด นี้ หลังจบการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย แม้ว่าเพื่อนๆ ร่วมชั้น ต่างพากันเลือกเส้นทางชีวิตเข้าศึกษาต่อในสาขาต่าง ๆ ในหลากหลายมหาวิทยาลัย แต่ “เอิร์ธ” ค้นพบตัวเองว่า ไม่ใช่คนเรียนเก่ง จึงตัดสินใจเลือกเส้นทาง ที่ไม่เหมือนเพื่อนคนอื่น ๆ และมุ่งหาคำตอบและทางรอดของชีวิตเพื่ออนาคตของตนเอง เมื่อมีโอกาสเข้ามา “เอิร์ธ” ตัดสินใจที่จะเลือกทางเดินสายอาชีพ ผ่านการเรียนรู้ “การตีเหล็กโบราณ”