"น้องฟ้าใส - อนันตญา ชินวงศ์" และ "น้องเจมส์ - โยธิน บุญยงค์" นักเรียนทุน Sharing the dream โดยมูลนิธิเอสซีจี เข้าร่วมกิจกรรม "The 1st Youth Symposium on SDGs" เวทีหารือของเยาวชนเพื่อขับเคลื่อนเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs) ครั้งที่ 1
"คุณสุวิมล จิวาลักษณ์" กรรมการและผู้จัดการมูลนิธิเอสซีจี นำทีมพาน้องๆ ต้นกล้าชุมชน ที่ขับเคลื่อนงานด้านการเกษตร ศึกษาดูงานเพาะปลูกพืชด้วยวิธีการเกษตรสมัยใหม่
คุณเชาวลิต เอกบุตร กรรมการบริหารมูลนิธิเอสซีจี เป็นประธานในงานประกาศผล มอบรางวัล และเปิดนิทรรศการ โครงการรางวัลยุวศิลปินไทย 2563 (Young Thai Artist Award 2019)
มูลนิธิเอสซีจี องค์กรสาธารณกุศลที่สนับสนุนการเรียนอาชีวศึกษามาอย่างต่อเนื่อง มอบทุนการศึกษารวมกว่า 1.5 ล้านบาท แก่นักเรียนระดับประกาศนียบัตรชั้นสูง (ปวส.) ที่เข้าร่วมศูนย์ความเป็นเลิศทางอาชีวศึกษา (Excellent Center)
มูลนิธิเอสซีจี องค์กรสาธารณกุศลที่มุ่งมั่นพัฒนาคน และสนับสนุนการพัฒนาศักยภาพเยาวชน ได้ดำเนินโครงการรางวัลยุวศิลปินไทย 2563 (Young Thai Artist Award 2020) รางวัลถ้วยพระราชทานสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี เวทีการประกวดศิลปะระดับเยาวชนที่ใหญ่แห่งหนึ่งในประเทศ
SCG Foundation, a public charity focusing on empowering people and promoting youth's ability, is hosting the Young Thai Artist Award 2020 for a trophy bestowed by Her Royal Highness Princess Maha Chakri Sirindhorn.
แลกเปลี่ยน ข้าวกับปลา ฝ่าวิกฤติ คุณไมตรี จงไทรจักร์ กรรมการและผุ้จัดการมูลนิธิชุมชนไท ในสมัยโบราณมนุษย์ดำรงชีวิตอยู่อย่างเรียบง่ายมีการเพาะปลูกและผลิตอาหารเพื่อบริโภคกันภายในครัวเรือน ต่อมามนุษย์เริ่มมีการติดต่อกันระหว่างครัวเรือน ความต้องการในการบริโภคก็เปลี่ยนไป เริ่มมีรูปแบบการแลกเปลี่ยนโดยการนำสิ่งของหรือผลผลิตที่มีไปแลกเปลี่ยนกับสิ่งของที่ต้องการกับครัวเรือนอื่นตามสัดส่วนที่ได้ตกลงกันไว้ หลังจากนั้นมนุษย์พบรูปแบบการแลกเปลี่ยนใหม่ โดยกำหนดสิ่งของบางอย่างให้เป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนนั่นคือ เงิน และเงินจึงถูกใช้เป็นสื่อกลางการแลกเปลี่ยนมาจนถึงปัจจุบัน แต่หลายครั้งที่เกิดสถานการณ์วิกฤตที่ เงิน ไม่สามารถเป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยน เพื่อซื้อสินค้าอุปโภคบริโภคได้ เช่น วิกฤตโควิด-19 ในช่วงต้นปีที่ผ่านมา ผู้คนได้รับผลกระทบอย่างหนัก โดยเฉพาะธุรกิจและอาชีพที่ต้องพึ่งพานักท่องเที่ยวเป็นหลัก ช่วงที่ปิดประเทศไม่มีนักท่องเที่ยว ธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับการท่องเที่ยวก็ดำเนินไปไม่ได้ จำเป็นต้องปิดตัวและพนักงานถูกเลิกจ้าง ชุมชนชาวบ้านที่อยู่ใกล้แหล่งท่องเที่ยวก็ได้รับผลกระทบตามไปด้วยดังเช่น ชุมชนชาวเลที่ทำอาชีพประมง จุดเริ่มต้นการแลกเปลี่ยนข้าวกับปลา ช่วงที่เกิดวิกฤตโควิด-19 ชุมชนชาวเล โดยเฉพาะจังหวัดชายฝั่งทะเลอันดามันแทบทุกครัวเรือนได้รับผลกระทบอย่างหนักเพราะพึ่งพารายได้หลักจากการท่องเที่ยว ชาวเลที่จับปลาเป็นอาชีพหาเช้ากินค่ำแทบไม่มีเงินซื้อข้าวกิน เช่นเดียวกับชุมชนทางภาคเหนือและภาคอีสานก็ได้รับผลกระทบจากมาตรการปิดจังหวัดเพื่อควบคุมและป้องกันการระบาดของโควิด-19 ทำให้ชาวบ้านในชุมชนขาดรายได้และไม่มีเงินพอที่จะหาซื้ออาหารมาประทังชีวิตคนภายในครอบครัว มูลนิธิชุมชนไท เป็นองค์กรที่ส่งเสริมและสนับสนุนให้เกิดกระบวนการพัฒนาคนจนในเมืองและชนบท มองเห็นถึงปัญหานี้จึงร่วมมือกับองค์กรภาคีเครือข่ายประสานความร่วมมือกันเปิดพื้นที่ให้ชุมชนกลุ่มชาติพันธุ์ทางภาคใต้ ภาคเหนือ ภาคอีสาน ได้ใช้ศักยภาพด้านภูมิปัญญาและวัฒนธรรมที่มีของชุมชน เพื่อช่วยเหลือซึ่งกันและกัน จึงเป็นที่มาของ “โครงการข้าวชาวนาแลกปลาชาวเล” เริ่มต้นที่กลุ่มชาติพันธุ์ชาวราไวย์ ในจังหวัดภูเก็ต นำปลาจากท้องทะเลมาแปรรูปตากแห้งเพื่อส่งไปแลกกับข้าวสารจาก ชาวปกาเกอะญอ ในจังหวัดเชียงใหม่ โดยได้ทำการตกลงกัน การแลกเปลี่ยนสัดส่วนอยู่ที่ ¼ คือ ปลา 1
คุณสุวิมล จิวาลักษณ์ กรรมการและผู้จัดการมูลนิธิเอสซีจี เป็นตัวแทนมอบทุนการศึกษาหลักสูตรผู้ช่วยพยาบาล แก่คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล จำนวน 19 ทุน มูลค่า 475,000 บาท
มูลนิธิเอสซีจีขอเชิญสัมผัสพลังศิลป์ของยุวศิลปินเลือดใหม่ ในนิทรรศการโครงการรางวัลยุวศิลปินไทยประจำปี 2563 รางวัลถ้วยพระราชทานสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี